การสำรวจอวกาศ
นาซ่าพบข้อมูลใหม่ อาจมี ‘สิ่งมีชีวิต’ บนดาวยูเรนัส
“ผลการศึกษาล่าสุดของนาซ่า เปิดเผยว่าสิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับดาวยูเรนัสอาจผิดมาโดยตลอด” ในปี 1986 ยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager…
นักวิทย์ฯ ญี่ปุ่น เผยภาพใหม่ Sagittarius A* หลุมดำกลางทางช้างเผือก ที่อาจพลิกโฉมความจริงเดิม
ภาพหลุมดำที่ใจกลางกาแล็กซีของเราอาจไม่ตรงกับความเป็นจริง การวิเคราะห์ข้อมูลใหม่อีกครั้งเผยจากนักวิทยาศาสตร์อิสระเผยให้เห็นว่าภาพหลุมดำ Sagittarius A* (ซาจิททาริอัสเอ*) ที่โด่งดังนั้นอาจมีอะไรผิดพลาดซ่อนอยู่ ย้อนในปี 2019 นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกได้พยายามจับภาพหลุมดำขนาดยักษ์ที่อยู่ห่างไกลมากกว่า 50 ล้านปีแสงที่ชื่อว่า M87 มันเป็นหลุมดำขนาดเท่ากับดวงอาทิตย์ 6.5 พันล้านดวงซึ่งภาพนั้นได้สร้างความตื่นเต้นไปทั่วโลก และนับเป็นครั้งแรกสุดที่มนุษยชาติสามารถถ่ายภาพหลุมดำจริง ๆ ได้เป็นครั้งแรกในธรรมชาติ…
NASA ส่งยานยักษ์บุกยูโรปา ไขปริศนาชีวิตในทะเลน้ำแข็งของดาวพฤหัส
นาซา (NASA) พึ่งส่งยานสำรวจ ยูโรปา (Europa) ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดีหลังจากพยายามกันมานานกว่า 25…
SPACE JOURNEY BANGKOK ผจญภัยอวกาศกับนิทรรศการระดับโลก ครั้งแรกในเอเชีย
“SPACE JOURNEY BANGKOK” นิทรรศการด้านอวกาศ เตรียมจัดในไทย 16 ธ.ค. 67 – 16…
กล้อง ‘เจมส์ เวบบ์’ เผยภาพ ‘เครื่องหมายคำถามยักษ์’ ในอวกาศ เปิดปริศนาจักรวาลโบราณ?
เครื่องหมายคำถามยักษ์ในอวกาศถูกจ้องมองอีกครั้งผ่านกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ ทั้งนี้แม้ไม่มีอะไรน่าแปลกใจสำหรับนักดาราศาสตร์ แต่เป็นภาพที่ถูกนำมาตีความ พร้อมๆกับเป็นความสวยงามสำหรับเราทุกคนราวกับจักรวาลกำลังใส่ ‘หูแมว’ ให้มนุษย์โลกดู เมื่อประมาณ 7 พันล้านปีก่อนกาแล็กซีขนาดใหญ่กลุ่มหนึ่งได้เคลื่อนตัวมาอยู่รอบ ๆ…
จักรวาลมืดแค่ไหน? NASA เฉลยปริศนาแสงพื้นหลังจักรวาล
ในที่สุดเราก็ได้รู้สักทีว่า ‘จักรวาลห้วงลึก’ นั้นมืดแค่ไหน ทีมวิจัยของยานอวกาศ ‘นิวฮอไรซันส์’ ของนาซาได้ทำการวัดแสงพื้นหลังโดยตรงทั้งหมดด้วยความแม่นยำที่สุดเท่าที่เคยมีมา เป็นเวลามากกว่า 18 ปีแล้วที่ยานอวกาศนิวฮอไรซันส์ (New Horizon) ของนาซา (NASA) ได้เดินทางออกสู่จักรวาลที่แสนไกลโดยไปถึงพลูโต ซึ่งอยู่ห่างจากโลกกว่า 7.3 พันล้านกิโลเมตร เมื่อ 9 ปีที่แล้ว ในตอนนี้ยานอยู่ในบริเวณสุดขอบระบบสุริยะ…