นี่คือแอนตาร์กติกาจากมุมมองที่คุณอาจไม่เคยเห็น เพราะเป็นภาพจากหลังวาฬหลังค่อม นักวิจัยติดตั้งกล้องด้วยหัวดูดสุญญากาศซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อวาฬ พวกเขาบันทึกภาพเป็นเวลาติดต่อกัน 24-48 ชั่วโมงก่อนที่กล้องจะหลุดออกและได้รับการระบุตำแหน่งด้วยระบบจีพีเอสเพื่อเก็บกู้ นักวิทยาศาสตร์ไม่เพียงได้ข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตอันลี้ลับของวาฬหลังค่อม เช่น พวกมันหากินในน้ำลึกกว่าที่เคยคิดกัน และอาจใช้การพ่นน้ำจากรูพ่นเพื่อเปิดช่องหายใจบนแผ่นน้ำแข็ง
Recommend
รัน เบบี้เต่า รัน!
รัน เบบี้เต่า รัน! ลูกเต่าน้อยเหล่านี้ใช้แสงจากเส้นขอบฟ้าของมหาสมุทรเป็นตัวนำทางให้พวกมันตรงไปสู่ท้องทะเลภายในเวลา 24 ชั่วโมงหลังฟักออกจากไข่แล้ว แต่ทุกวันนี้ชีวิตของพวกมันต้องเผชิญกับความเสี่ยงมากยิ่งขึ้น…
นวัตกรรมใหม่ช่วยสัตว์ใต้ทะเลลึกขึ้นสู่ผิวน้ำอย่างปลอดภัย
นวัตกรรมใหม่ช่วยสัตว์ใต้ทะเลลึกขึ้นสู่ผิวน้ำอย่างปลอดภัย อุปกรณ์ชิ้นนี้เป็นผลงานการประดิษฐ์ของสถาบันวิทยาศาสตร์แคลิฟอร์เนียร่วมกับพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำมอนเทอเรย์เบย์ ซึ่งจะช่วยในการเก็บตัวอย่างสัตว์ใต้ทะเลลึกให้พวกมันขึ้นสู่ผิวน้ำได้อย่างปลอดภัย นวัตกรรมใหม่นี้เป็นท่อแรงดันที่มีชื่อสั้นๆ ว่า SubCAS เนื่องจากการที่บรรดาสัตว์น้ำใต้ทะเลลึกเหล่านี้อาศัยอยู่ที่ระดับความลึกมากกว่า…
ค้างคาวจำศีลในหิมะ
ค้างคาวจำศีลในหิมะ สิ่งมีชีวิตตัวจิ๋วชนิดใดกันนะที่อาศัยอยู่ในรูหิมะ ของญี่ปุ่น…มันคือค้างคาวจมูกท่อที่กำลังจำศีล หากไม่นับรวมหมีขั้วโลกแล้ว ค้างคาวน่าจะเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวที่สามารถมีชีวิตรอดแม้อาศัยอยู่ในกองหิมะได้ ต่างกันตรงที่พวกมันไม่มีขนหนาและชั้นไขมันเหมือนหมีขั้วโลก ในการเอาชีวิตรอดจากหิมะ…
ฉลาม นักล่าแห่งท้องทะเลไทย ที่กำลังสิ้นลายเพราะมนุษย์
ฉลาม – เมื่อนักล่าสิ้นลาย [ เผชิญหน้า ] สัมผัสจากนํ้าเย็นเยียบบนใบหน้าในเวลาเช้ามืด…