นี่คือแอนตาร์กติกาจากมุมมองที่คุณอาจไม่เคยเห็น เพราะเป็นภาพจากหลังวาฬหลังค่อม นักวิจัยติดตั้งกล้องด้วยหัวดูดสุญญากาศซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อวาฬ พวกเขาบันทึกภาพเป็นเวลาติดต่อกัน 24-48 ชั่วโมงก่อนที่กล้องจะหลุดออกและได้รับการระบุตำแหน่งด้วยระบบจีพีเอสเพื่อเก็บกู้ นักวิทยาศาสตร์ไม่เพียงได้ข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตอันลี้ลับของวาฬหลังค่อม เช่น พวกมันหากินในน้ำลึกกว่าที่เคยคิดกัน และอาจใช้การพ่นน้ำจากรูพ่นเพื่อเปิดช่องหายใจบนแผ่นน้ำแข็ง
Recommend
มาเรียม : ดุหยงน้อยสู่ความหวังพะยูนไทย – บันทึกภาคสนามนักอนุรักษ์
เกาะติดภารกิจดูแล "มาเรียม" ลูกพะยูนกำพร้า ซึ่งถือเป็นภารกิจดูแลลูกพะยูนในถิ่นอาศัยตามธรรมชาติครั้งแรกของประเทศไทย มาเรียมไม่เพียงเป็นขวัญใจของเหล่านักอนุรักษ์ ชาวบ้าน และอาสาสมัครจากทุกแห่งหน…
ไดโนเสาร์บินได้ แต่ไม่ใช่แบบนกในปัจจุบัน
ปีกของไดโนเสาร์มีขนชนิดหนึ่งแม้จะมีหน้าตาคล้ายปีกของนก แต่ใช่ว่าจังหวะการกระพือจะเหมือนกับสัตว์ปีกดังที่เราเคยเห็นกัน
แรดใช้กองมูลเหมือนใช้โซเชียลเน็ตเวิร์ก
ในโลกของแรดการไล่ดมกองมูลแรดตัวอื่นๆ เทียบได้กับการสไลด์นิวฟีดเฟซบุ๊ก เพื่อดูว่าเพื่อนๆ ในฝูงมีเรื่องอะไรอยากบอก
แดนสนธยา ลึกลงไปใต้ผิวน้ำ สัตว์ทะเลหน้าตาน่ากลัว วิวัฒน์ขึ้นเพื่อใช้ชีวิตในสภาวะที่แทบไม่มีแสงสว่าง
แดนสนธยา ลึกลงไปใต้ผิวน้ำ สัตว์ทะเลหน้าตาน่ากลัว วิวัฒน์ขึ้นเพื่อใช้ชีวิตในสภาวะที่แทบไม่มีแสงสว่าง และสุขภาวะของมหาสมุทรอาจขึ้นอยู่กับพวกมัน บนดาดฟ้าโคลงเคลงของเรือวิจัยยาว 17…