wildlife
ผลจากการทำประมงอย่างหนักตลอด 50 ปีที่ผ่านมา ทำให้จำนวนฉลามและปลากระเบนลดลงครึ่งหนึ่ง
“หากต้องการให้ทะเลอุดมสมบูรณ์ ต้องอนุรักษ์ไม่ใช่กอบโกย” ฉลามและกระเบนนั้นเป็นกลุ่มปลากระดูกอ่อนที่มีความหลากหลายอย่างมาก…
MORE
ค่างหงอกตะนาวศรี 177 ปีของความลึกลับ
ภาพจากกล้องดักถ่ายเผย ค่างหงอกตะนาวศรี ในถิ่นที่อยู่ธรรมชาติภาพแรกของไทย เมื่อเพจของอุทยานแห่งชาติไทรโยคแชร์ภาพถ่าย “ค่างหงอกตะนาวศรี” จากกล้องดักถ่ายภาพ (camera…
รศ.ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ : การค้นพบกะท่างน้ำชนิดใหม่ ที่อาจหายไปเพราะภาวะโลกร้อน
“สวัสดีครับ ผมขอให้ข้อมูลการค้นพบกะท่างน้ำชนิดใหม่ของโลก” ข้อความสั้น ๆ ที่น่าตื่นเต้นจาก รศ.ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ…
กะท่างน้ำดอยสอยมาลัย กะท่างน้ำชนิดใหม่ของโลก
“กะท่างน้ำจากดอยสอยมาลัย ถูกศึกษาและตั้งชื่อว่า กะท่างน้ำดอยสอยมาลัย นับว่าเป็นกะท่างน้ำชนิดที่ 7 ของประเทศไทย” …
“ค้างคาว” สุดยอดผลงานวิวัฒนาการ แพรวพราวยามโบยบิน ทนทานต่อโรคจนน่าฉงน
“ค้างคาว” สุดยอดผลงานของวิวัฒนาการของสัตว์ที่สำคัญยิ่งต่อระบบนิเวศ และถือเป็นสิ่งอัศจรรย์ในทางวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่ทุกคนที่จะตกหลุมรักค้างคาว แต่ใครที่เป็นเช่นนั้นย่อมดิ่งลึกในห้วงรัก สมัยเป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์…
ต้นไม้หดตัวและช้างไร้งา วิธีแปลกประหลาดที่ธรรมชาติและสัตว์สายพันธุ์ต่างๆ ปรับตัวให้เข้ากับมนุษย์
หลายศตวรรษที่ผ่านมา การใช้ชีวิตของมนุษย์ได้เปลี่ยนโลก ระบบนิเวศ รวมถึงธรรมชาติไปอย่างมาก สัตว์และสิ่งมีชีวิตหลายชนิด จึงต้องปรับตัว-มีพัฒนาการเพื่อความอยู่รอดกับสภาพแวดล้อมใหม่ๆ โดยเฉพาะความเป็นเมืองที่ค่อยๆ…
สัตว์สามารถป่วยเป็นโรคจิตเภทเหมือนมนุษย์ได้หรือไม่
“สัตว์สามารถ ‘ป่วย’ ทางจิตได้หรือไม่?” ว่ากันว่ามีเพียงมนุษย์เท่านั้นที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต แต่งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในหลายสิบปีที่ผ่านมาเผยให้เห็นว่าตั้งแต่สุนัข แมว ช้าง…
สัตว์น้ำจืด 1 ใน 4 กำลังเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ : ผลพวงจากการรุกรานพื้นที่ชุ่มน้ำ
“สัตว์น้ำจืด 1 ใน 4 ชนิด กำลังเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์” รายงานใหม่จากสหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์หรือ…
หมาป่าสีเทา ในสหภาพยุโรปพ้นจากการเป็นสัตว์คุ้มครองใกล้สูญพันธุ์ หลังเพิ่มปริมาณขึ้นเป็นจำนวนมาก
สถานการณ์ของหมาป่าสีเทาในยุโรปจะเป็นอย่างไรหลังกฎหมายใหม่มีผล น่าสนใจว่าการจงใจลดปริมาณพวกมันโดยตรงจะแก้ปัญหาได้จริง หมาป่าสีเทา เป็นหนึ่งในสัตว์ป่าคุ้มครองในหลายพื้นที่ทั่วโลก สัตว์สายพันธุ์โบราณหายากชนิดนี้ต้องเผชิญกับหลายภัยคุกคาม ทั้งการถูกล่า พื้นที่อาศัยลดลงจากสภาพอากาศที่แปรปรวน…
ทั้งรักทั้งชัง เจ้า ‘งูหางกระดิ่ง’
การเปลี่ยนแปลงที่กำลังเกิดขึ้นกับทะเลทรายอันบริสุทธิ์ไปสู่โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยส่งผลกระทบต่องูอย่างไร ค่ำคืนแห่งการพบเจองูหางกระดิ่งเกือบจะเรียกได้ว่าต่อเนื่องนั้นช่างน่าเบิกบาน อุณหภูมิกำลังสบาย ความชื้นต่ำ และเบียร์เย็นฉ่ำ รถกอล์ฟไฟฟ้าเคลื่อนไปอย่างเงียบเชียบในคืนข้างขึ้น ข้ามเส้นทางสูงๆต่ำๆ…
ชุมชนริมแม่น้ำคันทักช่วยปกป้องตะโขงอินเดียให้รอดพ้นจากการสูญพันธุ์ได้อย่างไร
“จำนวนประชากรตะโขงอินเดีย เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หลังได้รับความช่วยเหลือจากการร่วมมือกัน ระหว่างคนในชุมชนและหน่วยงานภาครัฐในประเทศอินเดีย” Lalasha Yadav เรียกตัวเองและคนในชุมชนเป็น…