นี่คือแอนตาร์กติกาจากมุมมองที่คุณอาจไม่เคยเห็น เพราะเป็นภาพจากหลังวาฬหลังค่อม นักวิจัยติดตั้งกล้องด้วยหัวดูดสุญญากาศซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อวาฬ พวกเขาบันทึกภาพเป็นเวลาติดต่อกัน 24-48 ชั่วโมงก่อนที่กล้องจะหลุดออกและได้รับการระบุตำแหน่งด้วยระบบจีพีเอสเพื่อเก็บกู้ นักวิทยาศาสตร์ไม่เพียงได้ข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตอันลี้ลับของวาฬหลังค่อม เช่น พวกมันหากินในน้ำลึกกว่าที่เคยคิดกัน และอาจใช้การพ่นน้ำจากรูพ่นเพื่อเปิดช่องหายใจบนแผ่นน้ำแข็ง
Recommend
ตามติดชีวิตนกอพยพกับการใส่ห่วงขา ที่อาจบอกได้ถึงความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
ตามดูการทำงานของนักปักษีวิทยา เมื่อติดห่วงขานกแล้ว วิทยาศาสตร์เล่าเรื่องอะไรเกี่ยวกับนกบ้าง เมื่อนักปักษีวิทยาติดอุปกรณ์ติดตามเข้าที่ตัวนก ซึ่งอาจจะเป็นเพียงห่วงขาที่ระบุหมายเลขประจำตัว หรือเครื่องติดตามด้วยดาวเทียม (satellite…
ช่วยด้วย! ช้างตกทะเล
เจ้าช้างตัวนี้ถูกน้ำทะเลพัดออกจากฝั่งเกือบ 15 กิโลเมตร (8 ไมล์ทะเล) ขณะเดินข้ามข้ามทะเลสาบน้ำเค็มชายฝั่ง Kokkilai…
สุดยอดภาพถ่ายสรรพสัตว์
ภาพถ่ายสัตว์โลก คือความโดดเด่นของเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก กองบรรณาธิการของเราได้รับภาพถ่ายอันน่าทึ่งของบรรดาสรรพสัตว์มากมายจากทั่วโลก ภาพถ่ายเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงเทคนิคเฉพาะ, ความอดทน ตลอดจนความคิดสร้างสรรค์ที่บรรดาช่างภาพสัตว์จำเป็นต้องมี…
ปฏิบัติการช่วยเหลือหมีลิ้นยักษ์
ลิ้นของมันบวมเป่งและห้อยยาวลงมาเกือบถึงพื้น ทั้งยังหนักเสียจนบางครั้งมันต้องพักหัวเป็นระยะๆ นี่คืออาการที่เกิดขึ้นกับ Nyan htoo หมีควายในสวนสัตว์ของเมียนมา ซึ่งสาเหตุของอาการประหลาดนี้ยังคงเป็นปริศนา…