Skip to content
Search

TOPIC

  • Science
  • History
  • Culture
  • Sustainability
  • Environment
  • Education
  • Travel
  • Photography
  • Wildlife

การทำประมง

ALL STORIES
ผู้รอดชีวิตจากยุคไดโนเสาร์

ผู้รอดชีวิตจากยุคไดโนเสาร์

ปลาสเตอร์เจียนฝ่าฟันภัยคุกคามมาได้ตลอด 162 ล้านปี จนกระทั่งมนุษย์กดดันพวกมันจนใกล้สูญพันธุ์ แม่น้ำกว้างใหญ่และเงียบสงบ ขณะนี้เป็นเดือนธันวาคมทางตอนใต้ของคาซัคสถาน ภูมิประเทศใกล้แม่น้ำซีร์ดาร์ยาแต่งแต้มไปด้วยกอหญ้าที่อยู่ในช่วงพักตัว ที่ราบน้ำท่วมถึงทับถมไปด้วยตะกอน…

wildlife READ
MORE
มาตรา 69 กับอนาคตทะเลไทย บันทึกการตามหาปลาวัยอ่อนใต้แสงไฟ

มาตรา 69 กับอนาคตทะเลไทย บันทึกการตามหาปลาวัยอ่อนใต้แสงไฟ

การรวมตัวเฉพาะกิจของกลุ่มอาสาสมัครทั้งช่างภาพ ครูสอนดำน้ำ และนักวิทยาศาสตร์ทางทะเล เพื่อแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชายฝั่งนอก 12 ไมล์ทะเล หาใช่เพียงมวลน้ำของปลากะตักเท่านั้น…

Environment READ
MORE
ผลจากการทำประมงอย่างหนักตลอด 50 ปีที่ผ่านมา ทำให้จำนวนฉลามและปลากระเบนลดลงครึ่งหนึ่ง

ผลจากการทำประมงอย่างหนักตลอด 50 ปีที่ผ่านมา ทำให้จำนวนฉลามและปลากระเบนลดลงครึ่งหนึ่ง

“หากต้องการให้ทะเลอุดมสมบูรณ์ ต้องอนุรักษ์ไม่ใช่กอบโกย” ฉลามและกระเบนนั้นเป็นกลุ่มปลากระดูกอ่อนที่มีความหลากหลายอย่างมาก แต่สิ่งมีชีวิตโบราณในกลุ่มนี้มากกว่า 1,199 สายพันธุ์กำลังถูกคุกคามมากขึ้นเรื่อย ๆ…

wildlife READ
MORE
สถานการณ์ทะเลไทย: ใครฆ่า ฉลามวาฬ

สถานการณ์ทะเลไทย: ใครฆ่า ฉลามวาฬ

สถานการณ์ทะเลไทย: ใครฆ่า ฉลามวาฬ วันที่ 10 พฤศจิกายนที่ผ่านมา มีรายงานการพบซาก…

wildlife READ
MORE
บันทึกภาคสนามนักอนุรักษ์: ชะตากรรมบนเส้นด้ายของปลาโรนัน

บันทึกภาคสนามนักอนุรักษ์: ชะตากรรมบนเส้นด้ายของปลาโรนัน

ปลาโรนันจุดขาวเป็นปลาหายากในวงศ์ปลากระเบนที่นักวิทยาศาสตร์ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับมันน้อยมาก และพวกมันกำลังถูกคุกคามเนื่องจากครีบของปลาโรนันขายได้ราคาสูงมาก ขณะนี้บรรดานักอนุรักษ์ทำได้เพียงซื้อคืนพวกมันจากชาวประมงและปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ

Environment READ
MORE

TAGS

  • Science
  • History
  • Cultures
  • Sustainability
  • Environment
  • Education
  • Travel
  • Photography
  • wildlife
  • Our Team

FOLLOW US

NATIONAL
GEOGRAPHIC
ASIA

CONTACT

ngthai.com

บริษัท เอเอ็มอี อิมเมจิเนทีฟ จำกัด
ในเครือ บริษัท อมรินทร์ คอร์เปอเรชั่นส์ จำกัด (มหาชน)

02 422 9999 ต่อ 4220

ติดต่อแจ้งปัญหาหรือร้องเรียน
02-422-9999 ต่อ 4180
(จันทร์ - ศุกร์ เวลา 09.00 - 18.00 น)
bdcx@amarin.co.th