
สัตว์
ท้าทายทฤษฎีดั้งเดิม การศึกษาซากมนุษย์อายุ 15,000 ปีชี้ให้เห็นว่า คนยุคหินกินพืชพอๆ กับเนื้อสัตว์
คนยุคหินส่วนใหญ่พึ่งพาการกินเนื้อสัตว์และล่าสัตว์หรือเก็บของป่า เพราะยังไม่มีการทำเกษตร แต่หลักฐานใหม่ๆ อย่างงานวิจัยชาวไอบีโรเมารูเซียนพบว่า คนยุคหินบางกลุ่ม โดยเฉพาะในแอฟริกาเหนือ กินพืชมากกว่าที่คิด…
หมาป่าสีเทา ในสหภาพยุโรปพ้นจากการเป็นสัตว์คุ้มครองใกล้สูญพันธุ์ หลังเพิ่มปริมาณขึ้นเป็นจำนวนมาก
สถานการณ์ของหมาป่าสีเทาในยุโรปจะเป็นอย่างไรหลังกฎหมายใหม่มีผล น่าสนใจว่าการจงใจลดปริมาณพวกมันโดยตรงจะแก้ปัญหาได้จริง หมาป่าสีเทา เป็นหนึ่งในสัตว์ป่าคุ้มครองในหลายพื้นที่ทั่วโลก สัตว์สายพันธุ์โบราณหายากชนิดนี้ต้องเผชิญกับหลายภัยคุกคาม ทั้งการถูกล่า พื้นที่อาศัยลดลงจากสภาพอากาศที่แปรปรวน…
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คืออะไร จำเป็นอย่างไรต่อโลก
ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic Diversity) การวิวัฒนาการให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป แต่ยังคงความสมดุลที่ส่งผลดีต่อ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม…
ความลับของแมวขี้ข่วน! วิจัยเผยการมีเด็กในบ้าน ส่งผลให้เจ้าเหมียวชอบทำลายเฟอร์นิเจอร์
ทำไมแมวต้องข่วนเบาะหรือโซฟา งานวิจัยใหม่ให้เหตุผลบางประการและวิธีที่หยุดพฤติกรรมของเจ้าเหมียวเหล่านั้น ก่อนที่เฟอร์นิเจอร์ทั้งบ้านจะเสียหาย เจ้าของแมวหลายคนคงเคยผ่านประสบการณ์ แมวข่วนเบาะ ทำบายโซฟาตัวโปรดให้พังพินาศจนนั่งกันไม่ได้ และแม้เราจะทราบกันดีอยู่แล้วว่า แมวนั้นมีสัญชาตญาณในการใช้กรงเล็บเพื่อทำอะไรบางอย่าง แต่ก็มักจะอดสงสัยไม่ได้ทุกว่า…
มหัศจรรย์แห่งธรรมชาติ โลกใบจิ๋ว ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
ตั้งแต่ขนบนต้นซีบัคธอร์น (Sea Buckthorn) ไปจนถึงเส้นประสาทตาของสัตว์ฟันแทะ ภาพที่ชนะการประกวดภาพถ่าย Nikon Small…
(แมว) สยามเปลี่ยนสี! แมววิเชียรมาศ สร้างสีที่โดดเด่นได้อย่างไร
” แมววิเชียรมาศ ” สร้างสีที่โดดเด่นไม่เหมือนใครได้อย่างไร? คำตอบคือ ‘ยีนหิมาลายัน’ แมววิเชียรมาศ…