
wildlife
เมธาวี จึงเจริญดี : นักวิจัยฉลามกับบทพิสูจน์ที่ ‘ไม่ง่าย’ ในประเทศไทย
“ในประเทศที่คำว่า ‘ฉลาม’ แทบไม่เคยเป็นประเด็นหลักในการอนุรักษ์…
MORE
บีเวอร์สร้างเขื่อนแทนรัฐบาลเช็ก ประหยัดเงินทุนไป 1.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
“โครงการสร้างเขื่อนในสาธารณรัฐเช็กหยุดชะงักหลังวางแผนมาเจ็ดปี แต่บีเวอร์แปดตัวเข้ามาช่วยกู้สถานการณ์ได้ในชั่วข้ามคืน” เจ้าหน้าที่ในภูมิภาค Brdy แห่งสาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic)…
ผลจากการทำประมงอย่างหนักตลอด 50 ปีที่ผ่านมา ทำให้จำนวนฉลามและปลากระเบนลดลงครึ่งหนึ่ง
“หากต้องการให้ทะเลอุดมสมบูรณ์ ต้องอนุรักษ์ไม่ใช่กอบโกย” ฉลามและกระเบนนั้นเป็นกลุ่มปลากระดูกอ่อนที่มีความหลากหลายอย่างมาก แต่สิ่งมีชีวิตโบราณในกลุ่มนี้มากกว่า 1,199 สายพันธุ์กำลังถูกคุกคามมากขึ้นเรื่อย ๆ…
ค่างหงอกตะนาวศรี 177 ปีของความลึกลับ
ภาพจากกล้องดักถ่ายเผย ค่างหงอกตะนาวศรี ในถิ่นที่อยู่ธรรมชาติภาพแรกของไทย เมื่อเพจของอุทยานแห่งชาติไทรโยคแชร์ภาพถ่าย “ค่างหงอกตะนาวศรี” จากกล้องดักถ่ายภาพ (camera…
รศ.ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ : การค้นพบกะท่างน้ำชนิดใหม่ ที่อาจหายไปเพราะภาวะโลกร้อน
“สวัสดีครับ ผมขอให้ข้อมูลการค้นพบกะท่างน้ำชนิดใหม่ของโลก” ข้อความสั้น ๆ ที่น่าตื่นเต้นจาก รศ.ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ…
การเดินทางทะลุขีดจำกัด: นักวิทยาศาสตร์พบฉลามเพศเมียว่ายน้ำข้ามทวีปไกลกว่า 7,200 กิโลเมตร
“ในช่วงการเดินทางจากประเทศโมซัมบิกไปไนจีเรีย ของฉลามเพศเมียขนาด 2.4 เมตร ตัวนี้ต้องเจอกับเขตน่านน้ำที่เย็นจัด ซึ่งเคยเป็นเหตุที่ทำให้ประชากรฉลามหัวบาตรในแอฟริกา แยกจากกันมาเป็นเวลา…
นักวิจัยพบวาฬเพชฌฆาตใช้สาหร่ายทะเลถูนวดลำตัวให้กันและกัน คำถามคือแล้วพวกมันทำสิ่งนี้ทำไม
“นักวิทยาศาสตร์พบพฤติกรรมใหม่ของวาฬเพชฌฆาต ในการใช้สาหร่ายถูตัวให้กันและกันเพื่อผลัดเซลล์ผิวและเสริมสร้างสายสังคมทางสังคมภายในฝูง” ในน่านน้ำเย็นของทะเลซาลิชนอกชายฝั่งบริติชโคลัมเบีย วาฬเพชฌฆาตสองตัวกำลังทำบางอย่างที่นักวิทยาศาสตร์ไม่เคยเห็นมาก่อน พวกมันนำสาหร่ายที่เป็นเส้น ๆ วางไว้ตามลำตัว…
ความลับของเหล่า เพนกวิน เราเรียนรู้อะไรบ้างจากสัตว์ที่ได้ชื่อว่ายืดหยุ่นและปรับตัวเก่งที่สุดชนิดหนึ่งในโลก
เพนกวินตอบสนองต่อแรงกระตุ้นในการสำรวจอย่างไร เราเรียนรู้อะไรบ้างจากสัตว์ที่ได้ชื่อว่ายืดหยุ่นและปรับตัวเก่ง เพนกวินเรียนรู้ที่จะใช้ชีวิตท่ามกลางภยันตรายอย่างไร ราว 1,000 กิโลเมตรนอกชายฝั่งแผ่นดินใหญ่ของเอกวาดอร์ ดี…
มนุษย์ทำอะไร ยีราฟถึงกำลังหายไปจากแอฟริกา
“ยีราฟสัตว์สัญลักษณ์ของทวีปแอฟริกากำลังใกล้สูญพันธุ์เข้าไปทุกที” ในอดีตเมื่อกว่าร้อยปีก่อน ทั่วทั้งทวีปแอฟริกามียีราฟกระจายอยู่ทั่วไป ประชากรของพวกมันเคยมากถึง 2 ล้านตัว แต่ปัจจุบัน…
ค้นพบแมงมุมทะเล สิ่งมีชีวิตสุดแปลก ที่กินมีเทนเป็นอาหาร
“ครั้งแรกในโลก พบแมงมุมใต้ทะเลลึกที่ใช้ ‘มีเทน’ เป็นแหล่งพลังงานท่ามกลางความมืดมิด” ย้อนกลับไปหลายร้อยปีก่อน นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อกันว่าสิ่งมีชีวิตสามารถอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่จำกัดไม่ว่าจะด้านอุณหภูมิ ความดัน…
งานวิจัยใหม่เผย จำนวนสัตว์กินซากที่ลดลง ทำให้โรคติดต่อจากสัตว์แพร่สู่คนง่ายขึ้น
“สัตว์กินซาก ผู้ทำความสะอาดของโลกกำลังมีจำนวนลดลงเรื่อย ๆ และนั่นทำให้มนุษย์ทุกคนมีความเสี่ยง” เมื่อคิดถึงธรรมชาติที่สวยงาม ซากสัตว์อาจไม่ใช่สิ่งแรกที่นึกถึง เราส่วนใหญ่มักจินตนาการถึงต้นไม้…