ภาพจากกล้องดักถ่ายเผย ค่างหงอกตะนาวศรี ในถิ่นที่อยู่ธรรมชาติภาพแรกของไทย…
ราตรีแดนใต้ ลับตะวันในดงดิบ สำรวจความร่ำรวยทางทรัพยากรธรรมชาติในเขตชีวภูมิศาสตร์ Sundaic biogeographic region ชายแดนไทย-มาเลเซีย…
“สวัสดีครับ ผมขอให้ข้อมูลการค้นพบกะท่างน้ำชนิดใหม่ของโลก” ข้อความสั้น ๆ ที่น่าตื่นเต้นจาก รศ.ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ…
ทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง พื้นที่ชุ่มน้ำที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกกำลังประสบปัญหานํ้าที่ไม่ใสเหมือนเดิม เริ่มมีนํ้าเค็มเข้ามาปะปน แถมยังถูกรุกรานด้วยพืชต่างถิ่น จนทำให้อนาคตของทะเลสาบนํ้าจืดแห่งนี้น่าวิตกกังวลพอสมควร ทะเลน้อย…
“Kawana, Ka Whakamanuwhiritia Koe e au” “รัฐบาลเอ๋ย…
ความก้าวหน้าและ AI สร้างความตื่นเต้นให้แวดวงวิชาการด้านกรีกและโรมัน…
“ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาโลกของเรา ได้ก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทางเทคโนโลยี” การปฏิวัติดิจิทัลได้ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับวงการสาธารณสุขที่กำลังเผชิญกับความท้าทายหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มขึ้นของประชากร การระบาดของโรคอุบัติใหม่ และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่สูงขึ้น…
ทำไมแสงแดดถึงร้อนแรงขึ้นทุกปี? ผลวิจัยชี้เกิดจากปริมาณเมฆที่ปกคลุมบนท้องฟ้าที่ลดลง แสงแดดแรง อุณหภูมิโลกในช่วงสองปีที่ผ่านมาสูงกว่าที่นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ไว้ ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าส่วนหนึ่งเกิดจากการปกคลุมของเมฆที่ลดลง การปกคลุมของเมฆลดลง อุณหภูมิทั่วโลกสูงขึ้นมากในช่วงสองปีที่ผ่านมาเกินกว่าที่นักวิทยาศาสตร์คาดไว้…
ออสเตรเลียทำ ‘ไวรัสอันตราย’ ที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงมากหลุดหลายร้อยขวด ถือเป็นหนึ่งเหตุการณ์ละเมิดระเบียบความปลอดภัยทางชีวภาพครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และการที่ตัวอย่างไวรัสสูญหายนี้อาจสร้างผลกระทบร้ายแรงได้หรือไม่?…
งานวิจัยใหม่เผยให้เห็นว่าหัวใจมีระบบประสาทที่ซับซ้อนเป็นของตัวเอง หรือที่เรียกว่า ‘สมองขนาดเล็ก’ ซึ่งสามารถควบคุมการเต้นของหัวใจได้โดยไม่ขึ้นกับสมอง นั่นเป็นเหตุผลที่ว่าทำไมอวัยวะสำคัญชิ้นนี้ถึงเต้น ได้ด้วยตัวเองเมื่ออยู่นอกร่างกาย หลายครั้งที่ภาพยนตร์หรือแม้แต่ภาพจริงเผยให้เห็นว่าหัวใจของเรายังคงเต้นอยู่แม้จะถูกตัดออกมาจากร่างกายแล้ว…
นักวิจัยได้คิดค้นวิธีการส่งยาเข้าสู่ระบบทางเดินอาหาร ผ่านแคปซูลส่งยาที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการพ่นหมึกของเซฟาโลพอด การโดนฉีดยาไม่ใช่เรื่องสนุกและอาจเป็นสิ่งน่ากลัวสำหรับใครบางคน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องฉีดยาทุกวันเพื่อบรรเทาโรค และแม้พวกเขาอยากจะหลีกเลี่ยงการโดนฉีดยาแค่ไหน แต่มันก็เป็นเรื่องยาก เพราะยาบางตัวอย่างอินซูลินจะสูญเสียประสิทธิภาพหากเลือกวิธีการรับประทาน…
ออกซิเจนมืด (Dark Oxygen) ก้อนโลหะใต้ทะเลลึกที่ไม่มีแสงเหล่านี้กับคำถามที่ว่ามันสามารถสร้างออกซิเจนได้ด้วยตัวเองได้จริงหรือไม่ เรื่องราวของออกซิเจนมืด (Dark Oxygen)…
“บอกลาไมโครพลาสติก นักวิทยาศาสตร์คิดค้นพลาสติกชนิดใหม่ ที่สามารถสลายตัวได้ในมหาสมุทร” …
อะไรคือสิ่งที่ซ่อนอยู่ในภาพของการเล่าเรื่องที่สะท้อนถึงความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ถอดความคิดจากการเสวนา National…
การศึกษาคืออะไรในมุมมองของพระพุทธศาสนา สัมภาษณ์ พระศากยวงศ์วิสุทธิ์…
“สมองเน่า คำศัพท์แห่งปีจากออกซ์ฟอร์ด ที่เชื่อมโยงกับการใช้เวลาดูเนื้อหาบนโลกออนไลน์ที่มี…
ขึ้นเขาตังกวน (Tangkuan Hill) …
“4 ล้านชีวิตหายไปเพราะคลื่นความร้อน มหาสมุทรแปซิฟิกกำลังเผชิญวิกฤตครั้งใหญ่” ในช่วงต้นปี 2016 ภูมิภาคมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือเกิดคลื่นความร้อนในทะเลรุนแรงที่สุดเท่าที่เคยมีมา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เรียกเหตุการณ์ครั้งนั้นว่า…
“วาฬหลังค่อมเดินทางไกลกว่า 13,000 กิโลเมตร ไกลกว่าระยะทางอพยพปกติเกือบ 2 เท่าจนทำลายสถิติของสปีชีส์ตัวเอง” สัตว์หลายชนิดต่างก็มีชื่อเสียงมาอย่างยาวนานในเรื่องการเดินทางไกล…
“หลังจากสังเกตการณ์มาเป็นเวลากว่าสิบปี นักวิจัยเผยว่านกชนิดเดียวกันและใกล้เคียง อาจสร้างสายสัมพันธ์เพื่อนร่วมทางในฤดูอพยพ” ช่วงเดือนกันยายนของทุก ๆ ปี นกในอเมริกาตอนเหนือกว่าพันล้านตัวจะอพยพย้ายถิ่นหนีความหนาวเย็นไปอาศัยอยู่ทางซีกโลกใต้…
“หมาป่าเอธิโอเปีย นักล่าผู้ชื่นชอบน้ำหวาน ผู้ผสมเกสรที่นักวิทยาศาสตร์คาดไม่ถึง” เมื่อนักวิทยาศาสตร์พบว่าพวกมันชอบกินน้ำหวานจากต้นไม้ ทำให้เป็นสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่ซึ่งคาดว่าเป็นชนิดแรกเท่าที่เคยบันทึกกันมาที่รู้จักการกินน้ำหวานจากต้นไม้ และเป็นปรากฏการณ์หาได้ยากยิ่งในโลกธรรมชาติ โดยทั่วไปแล้วเราจะทราบกันดีกว่าพืชดอกเกือบทั้งหมดต้องการ…
เตรียมนับถอยหลังสู่ปี 2025 กับ…