พันธุกรรม
ไขปริศนา ‘คนหน้าเหมือน’ แฝดคนละฝา ที่วิทยาศาสตร์อธิบายได้
เราอาจได้ยินเรื่องคนหน้าเหมือนที่ไม่มีความเกี่ยวข้องมาไม่น้อย และวิทยาศาสตร์ก็อธิบายว่าทำไมบางคนหน้าเหมือนกันจนน่าประหลาดใจได้โดยที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย ซึ่งเรียกกันว่า doppelgängers กระบวนการเหล่านั้นคืออะไรและมันเกิดขึ้นได้อย่างไร? หากคำตอบได้ในบทความนี้ ชาวอินเตอร์เน็ตมักมีมุกเกี่ยวกับคนหน้าเหมือนมาแซวกันอยู่เรื่อย ๆ โดยเฉพาะคนมีชื่อเสียงหลายคนที่มักจะมีหน้าตาเหมือนกับคนไทยด้วยกันเอง หรือเหมือนกับดาราต่างประเทศจนหลายครั้งต้องจัดงานประกวดคนหน้าเหมือนกันอย่างสนุกสนานซึ่งสร้างสีสันให้กับชุมชนออนไลน์อย่างยิ่ง อย่างไรก็ตามทำไมถึงมีคนมากมายที่หน้าตาคล้ายกันมากราวกับเป็นฝาแฝดกันทั้งที่พวกเขาไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกันเลยในทางเครือญาติ? เรื่องนี้วิทยาศาสตร์อธิบายว่า…
แพนจีโนม โครงการรวบรวมข้อมูลทางพันธุกรรมของมนุษย์จากหลากหลายชาติพันธุ์
แพนจีโนม คำนี้อาจฟังดูไม่คุ้นเคย เนื่องจากเป็นคำที่ปรากฎในหน้าสื่ออีกครั้งเมื่อเดือนพฤษภาคม 2023 เมื่อทีมนักวิจัยได้ร่วมกันประกาศความสำเร็จเรื่องการเก็บข้อมูลพันธุกรรมของมนุษย์จากหลากหลายชาติพันธุ์ได้สำเร็จเป็นครั้งแรก ก่อนจะไปรู้จักกับการรวบรวมงานวิจัยเรื่อง แพนจีโนม…
ลูกยีราฟได้ลายมาจากแม่
ผลการค้นพบใหม่ระบุว่า ลวดลายบนตัวลูกยีราฟเป็นมรดกตกทอดมาจากแม่ยีราฟ เพื่อช่วยให้พวกมันเอาชีวิตรอดจากผู้ล่า
ดีเอ็นเอหมีถ้ำที่สูญพันธุ์ไปแล้วปรากฏในหมีปัจจุบัน
นับเป็นครั้งแรกที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบดีเอ็นเอของหมีที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ในหมีปัจจุบัน
ภารกิจตามหาญาติของมนุษย์ฮอบบิท
บรรดาชนเผ่าปิ๊กมี่ (pygmies) ที่อาศัยอยู่บนหมู่เกาะฟลอเรส พวกเขามีร่างกายเล็กแคระไม่ต่างจากมนุษย์โฮโม ฟลอเรเสียนซิส หรือมนุษย์ฮออบบิทที่เคยมีชีวิตอยู่เมื่อหลายหมื่นปีก่อน และขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ต้องการทราบว่าพวกเขามีสายสัมพันธ์ข้องเกี่ยวกันหรือไม่?
หมูป่ากลายมาเป็นหมูเลี้ยงได้อย่างไร?
ผลการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมพบว่าหมูเลี้ยงมีดีเอ็นเอของหมูป่าที่ค่อนข้างหลากหลาย และมนุษย์น่าจะเริ่มเลี้ยงพวกมันตั้งแต่หมื่นปีก่อน